สรุปผลการเรียน วิชานวัตกรรมและสารสนเทศการศึกษา
วันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๒
การจัดการความรู้
ขั้นตอนที่ ๑. การออกแบบสถาปัตยกรรม
๒. การออกแบบ
๓. การขับเคลื่อน
๔. การผลิตออกมา
บทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ “ สู่มนุษย์ ”
๑. ผู้ดูแลทุนมนุษย์ ( Human Capital Steward )
๒. ผู้ประสานสัมพันธ์ ( Knoledge Facilitator )
๓. ผู้อำนวยความรู้ ( Relationship Bulder )
๔. ผู้มีอาชีพที่เฉพาะ ( Raped Deployment Sepecidist )
ความรู้คืออะไร
๑. Knowledge Capital เป็นต้นทุน องค์กร ทรัพยากรมนุษย์
๒. ความสามารถในการทำให้สารสนเทศ และข้อมูลมาเป็นการกระทำที่มีประสิทธิภาพได้
๓. ส่วนผสมของกรอบประสบการณ์ คุณค่า สารสนเทศ และความเชี่ยวชาญ
ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ความเฉลียวฉลาด และเชาว์ปัญญา
ข้อมูล ข้อมูลดิบที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผล
กลุ่มของข้อมูลดิบที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน
สารสนเทศ ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว
ผลรวมของข้อมูลที่มีความหมาย
ความรู้ ผลจากการขัดเกลาและเลือกใช้สารสนเทศโดยมีการจัดระบบความคิด เกิดเป็น
ความรู้ และความเชี่ยวชาญ
ความเฉลียวฉลาด การนำเอาความรู้ต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อ
ทำงานในสาขาต่างๆ
เชาว์ปัญญา ผลขากการปรับแต่งและจดจำความเฉลียวฉลาดต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความคิดที่
ฉับไว
ประมวลผล ขัดเกลา/เลือกใช้ บูรณาการ ปรับแต่ง/จดจำ
Data
Information
knowledge
Wisdom
Intelligenceคำคม
เพียงจ้องมองบันไดยังไม่พอ เราจะต้องก้าวขึ้นบันไดด้วย
รูปแบบของความรู้
ความรู้ที่ชัดแจ้ง
ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน
หัวปลา kvโมเดลปลาทู
ตัวปลา ks
หางปลา kaô
กระบวนการจัดการความรู้
๑. กำหนดสิ่งที่ต้องการเรียนรู้
๒. แสวงหาความรู้
๓. จัดเก็บ และศึกษาหาความรู้
๔. การสร้างความรู้
๕. การประมวลและกลั่นกรองความรู้
๖. การถ่ายโอนและกลั่นกรองความรู้
๗. การแบ่งความรู้
การวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้
๑. การจับความรู้จากผู้เชี่ยวชาญ
๒. การวิเคราะห์ความรู้ที่จับได้
๓. การตรวจสอบความถูกต้องของความรู้
๔. การสังเคราะห์ให้เหมาะสมกับการใช้งาน
สร้างระบบสารสนเทศจัดการเรียนรู้
การจัดเก็บความรู้เป็นระบบ
การค้นหาและเรียกใช้ความรู้
การให้ความรู้ร่วมกันและการกระจายความรู้
ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน
๑. เอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยี
๒. ทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระบบที่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ประโยชน์การCop
ระยะสั้น
- เวทีของการแก้ปัญหา ระดมสมอง
- ได้แนวคิดที่หลากหลาย
- ได้ข้อมูลมากขึ้นในการตัดสินใจ
- หาทางออก คำตอบเร็ว
- ลดระยะเวลา และการลงทุน
ระยะยาว
- สร้างเสริมวัฒนธรรมและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์กร
- เกิดความสามารถที่คาดการณ์ได้
- วิเคราะห์ความแตกต่างและตั้งเป้าหมาย การปรับปรุงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- แหล่งรวบรวมและเผยแพร่วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
รูปแบบของCop
- เพื่อแก้ปัญหาประจำวัน
- เน้นการพัฒนา ตรวจสอบ
- จัดระเบียบ ยกระดับ
- เพื่อพัฒนาแนวคิด
อุปสรรคการเรียนรู้
ไม่พูด ไม่คุย
ไม่เปิด ไม่รับ
ไม่ปรับ ไม่เปลี่ยน
ไม่เพียร ไม่ทำ
Ks ที่ดีต้องมีทั้ง Explicit และ Tacit
Explicit ต้องมีวิชาการ ทฤษฎี มาจากการสังเคราะห์วิจัยใช้สมอง เป็นกฎเกณฑ์ วิธีการ ขั้นตอนที่ผ่านการพิสูจน์
Tacit ภูมิปัญญา เคล็ดวิชา ปฏิบัติ ประสบการณ์ มากจากวิจารณญาณ เป็นเทคนิค เฉพาะตัว เป็นลูกเล่นของแต่ละคน
คลังความรู้ที่ดี
เรื่องเล่า คำพูดที่เร้าใจ
การถอดบทเรียนที่ได้
แหล่งข้อมูล บุคคลที่อ้างอิง
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ผู้บริหาร
บรรยากาศ วัฒนธรรมองค์กร
การสื่อสาร
เทคโนโลยีที่เข้ากับพฤติกรรมและการทำงาน
การให้ความรู้เรื่องราวการจัดการความรู้และการใช้เทคโนโลยี
แผนงานชัดเจน
การประเมินผลโดยใช้ตัวชี้วัด
วันพุธที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
สรุปเนื้อหานวัตกรรมและสารสนเทศ วันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๒
วันเสาร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)